สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการ
ที่จอดรถ
ทางลาด
ห้องน้ำ
ทางผู้พิการทางการเคลื่อนไหว
ทางเดินผู้พิการทางสายตา
ลิฟท์
สิ่งอำนวยความสะดวก
ห้องน้ำ
อาหาร
ร้านค้า
ที่จอดรถ
สัตว์เลี้ยง
ผู้สูงอายุ
ผู้ปกครอง
สำหรับเด็ก
*สีเขียว มีบริการ
**สีเหลือง หมายถึง อยู่ระหว่างการปรับปรุงหรือมีแล้วแต่ยังไม่ได้มาตรฐาน
***สีเทา(สีแดง) หมายถึง ยังไม่มีสิ่งอำนวยความสะดวกรองรับ
อุโบสถหลังนี้เกิดจากการผสมผสานทางวัฒนธรรม โดดเด่นด้วยศิลปะของลื้อผสมกับศิลปะของล้านนา ก็ได้สร้างวิหารขึ้นมา ในปี พ.ศ. 2400 หลังจากสร้างเสร็จก็นำสล่า จากสิบสองปันนามาปั้นพระประธาน โดยลวดลายของงานศิลปะภายในวัดที่ปรากฏในปัจจุบันจะเป็นฝีมือของคนลื้อที่อพยพมา สิ่งที่เห็นได้ชัดคือ หลังคามุงด้วยไม้สัก(แป้นเกล็ด) มีตัวรับหลังคาที่เรียกว่า “ม้าต่างไหม” ซึ่งเป็นศิลปะของไทยลื้อโดยเฉพาะ ฝาผนังภายในพระวิหารมีภาพวาดความเป็นมาวิถีชีวิตของชาวไทลื้อบ้านมางในอดีต มีพระพุทธรูปที่สร้างตามลักษณะ พุทธศิลป์ของไทลื้อซึ่งเหลืออยู่เพียงแห่งเดียวในเชียงคำ และมีการบูรณปฏิสังขรณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2532 โดยสร้างเป็นมุขยื่นออกมา 3 มุข คือ สิงห์, เสือ, นาค และคันทวยทำลวดลายเป็นรูปสัตว์ในป่าหิมพานต์